1. กระแสน้ำตะกอนขุ่นข้น (Turbidity current) เมื่อมีตะกอนปริมาณมากอยู่ในมวลน้ำใดๆ
ทำให้มวลน้ำนั้นๆมีความหนาแน่นและความหนืดสูงกว่ามวลน้ำที่อยู่ข้างเคียง
ทำให้จมตัวลงและไหลไปตามพื้น มหาสมุทร
ตะกอนในมวลน้ำนั้นจะไหลออกไปผ่านไหล่ทวีปและลาดทวีปไปสู่แอ่งมหาสมุทรได้
กระแสน้ำดังกล่าวเรียกว่ากระแสน้ำตะกอนขุ่นข้น (turbidity current) บางครั้งตะกอนที่มาทับถมกันอาจกินบริเวณกว้างเป็นระยะทางถึง 1,000 กิโลเมตร กว้างประมาณ 100-300 กิโลเมตร
และมีความเร็วในการเคลื่อนที่ประมาณ 20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ข่าววิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- "SWAN" ดาวหางดวงใหม่กำลังเข้าใกล้ดวงอาทิตย์ เห็นด้วยตาเปล่าปลาย เม.ย.-พ.ค.
- คืนชีพหมาป่าสีขาวไดร์วูล์ฟ ครั้งแรกของโลกหลังสูญพันธุ์ 12,500 ปี
- "ภูมิสารสนเทศ" ไขปริศนา "จับคนร้าย-สืบคดี-ตามเส้นทางหลบหนี"
- 20 มี.ค. "วันวสันตวิษุวัต" กลางวัน-กลางคืนยาวเท่ากัน 12 ชม.
- ห้ามพลาด! พาเหรด 7 ดาวเคราะห์เรียงตัวช่วงหัวค่ำคืนนี้
Kroobannok Education News
- สพฐ.จัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 เพื่อเป็นค่าตอบแทนการจ้างอัตราจ้างครูผู้ทรงคุณค่าแห่งแผ่นดิน (ครั้งที่ 2)
- แนวทางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยครอบครัว HOME SCHOOL
- ครม.เห็นชอบแต่งตั้ง รองปลัด ศธ. และ เลขาธิการ ก.ค.ศ.
- โครงการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดตั้งหมู่ยุวกาชาดและเครือข่ายยุวกาชาด
- ว 14/2568 ผู้มีอำนาจพิจารณาหรืออนุญาต และอำนาจพิจารณาหรืออนุญาตการลา ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น